วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Diary No.11 | 30 November 2015 (08.30 - 12.30 am.) Group.101


Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood

Diary No.11


บันทึกการเรียน ครั้งที่ 11

สัปดาห์นี้อาจารย์ให้ส่งการบ้านของสัปดาห์ที่แล้ว และนั่งชมวีดิโอ

ผลงานของทั้งห้อง




ผลงานของฉัน

ผลงานของฉัน

วันพฤหัสบดีที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Diary No.10 | 16 November 2015 (08.30 - 12.30 am.) Group.101

Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood

Diary No.10


บันทึกการเรียน ครั้งที่ 10



1.ศิลปะสร้างสรรค์

พัฒนาการทางศิลปะ (Lowenfeld and Britain)

ความหมาย

         เป็นเครื่องมือที่ให้เด็กแสดงความรู้สึก ความต้องการออกมาผ่านผลงาน การวาด การปั้น การประดิษฐ์ การตัด การฉีก การปะ การพับ


ขั้นขีดเขียน (Scribbling Stage)
         2-4 ปี  ความสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา


ความสำคัญและประโยชน์ของศิลปะสร้างสรรค์

          เด็กได้แสดงความรู้สึก ความคิด ความสามารถตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของเด็ก
บำบัดอารมณ์ฝึกทักษะการทำงานของอวัยวะต่างๆ แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเด็ก


ขั้นก่อนมีแบบแผน (Preschemalic Stage)
         - 4 -7 ปี
         - ภาพมีความสัมพันธ์กับความจริง

ขั้นใช้สัญลักษณ์ (Schemalic Stage)
         - 7-9 ปี
         - คล้ายของจริง


หลักการจัดประสบการณ์ศิลปะ
          - กระบวนการสำคัญกว่าผลงาน
          - หลีกเลี่ยงการวาดภาพตามแบบ การระบายสีจากสมุดภาพ
          - ชื่นชมม
          - เตรียมอุปกรณ์
          - ศิลปะสำคัญเช่นเดียวกับการเขียนอ่าน
          - หลีกเลี่ยงคำถาม "กำลังทำอะไร" หรือ "เดาสิ่งที่เด็กทำ"


กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
          - กิจกรรมสี
          - การปั้น
          - การตัดปะ
          - การพับ
          - การประดิษฐ์



ความรู้ที่ได้รับ

          ได้รับความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการทางศิลปะของเด็กว่ามีกี่ขั้น แต่ละขั้นนั้นเป็นอย่างไร ได้รู้ถึงหลักการจัดประสบการณ์ศิลปะ และกิจกรรมต่าง ๆ


ประเมินเพือนและตนเอง
          เพื่อนมีความตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงต่อเวลา


ประเมินอาจารย์

         อาจารย์มีตัวอย่างอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจตลอดเวลา มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้

Diary No.9 | 09 November 2015 (08.30 - 12.30 am.) Group.101

Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood

Diary No.9


บันทึกการเรียน ครั้งที่ 9


1.กิจกรรมสอบเขียนกระดาน







2.กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะฝึกความคิดสร้างสรรค์

แบ่งกลุ่ม 5-6 คน ทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
ได้ หน่วย อาหาร

ขั้นนำ

ให้เด็กหาบริเวณพื้นที่เฉพาะตัว
ให้เด็กเคลื่อนไหวตามจังหวะ เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดทันทีขั้นกิจกรรมสัมพันธ์เนื้อหา 


จากนั้นให้เด็กเคลื่อนไหวตามจังหวะ พร้อมปฏิบัติตามคำสั่งดังนี้
- แบ่งกลุ่ม 2 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็น ช้อนและซ้อม
- แบ่งกลุ่ม 5 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็น ข้าวไข่เจียว
- แบ่งกลุ่ม 8 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็น ชามใส่ก๋วยเตี๋ยว


ความรู้ที่ได้รับ


           ได้รับความรู้ในเรื่องของการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ การสอนและการเขียนกระดานหน้าห้องเรียนว่าควรทำอย่างไร


ประเมินเพื่อนและตนเอง

           เพื่อนทุกคนมีความตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมกับการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี เข้าเรียนตรงเวลา


ประเมินอาจารย์

           อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย มีการคอมเม้นท์นักศึกษาขณะที่นักศึกษาสอบสอนเสร็จแล้ว เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมอย่างเต็มที่

Diary No.8 | 02 November 2015 (08.30 - 12.30 am.) Group.101


Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood

Diary No.8


บันทึกการเรียน ครั้งที่ 8


1.เพลงใหม่ Where is Thumbkin?


Where is Thumbkin?
Where is Thumbkin?
Here I am! Here I am!


*How are you today, sir?
Very well, I thank you
Run away. Run away.


Where is Pointer?
Where is Pointer?
Here I am! Here I am! (*)


Where is Middleman?
Where is Middleman?
Here I am! Here I am! (*)


Where is Ringman?
Where is Ringman?
Here I am! Here I am! (*)


Where is Pinkie?
Where is Pinkie?
Here I am! Here I am! (*)


2.นิทานสร้างสรรค์ แต่งนิทาน หน่วยเรื่อง "ทะเล"


ขั้นนำ

ร้องเพลงเก็บเด็ก
ตั้งชื่อเรื่อง "ทะเลแสนงาม"
แบ่งกลุ่มฝึกเขียนกระดาน



ความรู้ที่ได้รับ 
           ได้รับความรู้ในเรื่องของการแต่งนิทาน และการเขียนกระดาน
 

ประเมินเพื่อนและตนเอง

            เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมและตั้งใจเรียนมาก


ประเมินอาจารย์

            อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมนั้นๆ

Diary No.7 | 26 October 2015 (08.30 - 12.30 am.) Group.101

Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood

Diary No.7


บันทึกการเรียน ครั้งที่ 7 


1.กิจกรรมประดิษฐ์ไม้คฑา (สำหรับชี้) จากความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง

     วัสดุ / อุปกรณ์
              1. สี
              2. กระดาษร้อยปอนด์
              3. ไม้ลูกโป่ง
              4. กระดาษสีต่างๆ
              5. ดินสอ , ยางลบ , ปากกาเคมีสีดำ
              6. กรรไกร
              7. กาวแท่ง และ ปืนกาว


    วิธีการทำ
           1.วาดภาพตามจินตนาการของเราที่เราต้องการลงในกระดาษร้อยปอนด์ จำนวน 2 ภาพ
           2.ระบายสีตกแต่งให้สวยงาม พร้อมทั้งใช้ปากาเคมีสีดำตัดขอบให้สวยงาม
           3.ใช้กรรไกรตัดตามภาพวาดของเรา
           4.นำภาพวาดทั้ง 2 ภาพของเรามาติดปะกบกันบนไม้ลูกโป่งโดยใช้กาวเป็นตัวยืดติดกัน
           5.ตกแต่งไม้ลูกโป่งด้วยกระดาษสีที่มีตามใจต้องการ

ไม้คฑาของเพื่อนๆ

ไม้คฑาของฉัน


Diary No.6 | 19 October 2015 (08.30 - 12.30 am.) Group.101

Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood

Diary No.6


บันทึกการเรียน ครั้งที่ 6


1.กิจกรรมฟังเสียงเครื่องดนตรี

       ไวโอลิน                   แซ็กโซโฟน                    เม้าท์ออกแกน
       ฉาบ                         ทอมโบน                         กีต้าร์
       เปียโน                      แตร                                 ฟรุ๊ต
       นิ้งหน่อง                   ทรัมเป็ต                          กลองชุด
       เชลโล                      ปี่สก็อต


2.กิจกรรมฟังเสียงสัตว์

          สุนัข                      แมว                           หมู
          วัว                          ไก่ตัวผู้                      ม้า
          ไก่ตัวเมีย               ลา                             แพะ
          เป็ด                        นก


3.กิจกรรมส่งสาร โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน

              แรดอย่างสงบ ตบเมื่อจำเป็น ตอแหลอย่างเยือกเย็น เพราะเราเป็นไฮโซ



4.กิจกรรมแต่งคำคล้องจอง


อะไรเอ๋ยมีหลายขนาด เจ้าหนูชอบพลาดโดนจับกิน
เมื่อเป็นปลาทูมันทำหน้าฟฟิน เหมียวเหมียวจะกินลองทายดู


                                                                                                                                         เฉลย แมว


ความรู้ที่ได้รับ

             ได้รับความรู้ในการแต่งคำคล้องจอง เทคนิคในการแต่งคำคล้องจอง



ประเมินเพื่อนและตนเอง

           เพื่อนความตั้งใจเรียนและตั้งใจทำกิจกรรม แต่งกายถูกระเบียบ มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม



ประเมินอาจารย์

              อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย ให้เด็กได้มีส่วนในการทำกิจกรรม เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นและแสดงความคิดสร้างสรรค์อย่างเต็มที่ใช้คำพูดที่น่าฟังและเข้าใจง่าย เป็นกันเอง ไม่กดดันนักศึกษา                         

Diary No.5 | 05 October 2015 (08.30 - 12.30 am.) Group.101


Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood

Diary No.5



บันทึกการเรียน ครั้งที่ 5


1.เกมนักมายากลระดับโลก

2.เรียนจาก Power Point เรื่อง " การเล่นเพื่อสิ่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ "


การเล่น
          เป็นกระบวนการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
ทำให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลินเพลิน ผ่อนคลาย ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น

Piaget

กล่าวถึงพัฒนกาารเล่นของเด็กมี 3 ขั้นดังนี้

        - ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (Sensorimotor Play) เช่น การหยิบจับ สำรวจ ซึ่งจะยตุลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
        - ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constructive Play) อายุ 1ปีครึ่ง-2ปี การเล่นไม่มีขอบเขต เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง จะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง เล่นคนเดียวต่างคนต่างเล่น
        - ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play) อายุ 2 ขวบขึ้นไป สามารถพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่าง ๆ ที่ไม่มีอยู่ที่นั่น ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาทสมมติ

ประเภทของเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสร้างสรรค์

        - การเล่นกลางแจ้ง
        - การเล่นในร่ม


            การเล่นในร่ม
                 - การเล่นตามมุมประสบการณ์
                 - การเล่นสรรค์สร้าง


           การเล่นสรรค์สร้าง

                  - การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระ และเล่นได้หลายวิธี
                  - ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
                  - เด็กเกิดความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง


องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง

     1.สภาวะการเรียนรู้
     2.พัฒนาการของการรู้คิด
     3.กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน


กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้

      1.เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
      2.การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงเวลา
      3.การจำแนกอย่างมีเหตุผล


หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง

      1.ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
      2.ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
      3.มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม


รูปแบบการสอนแบบ STEM

S = Science
T = Tecnology
E = Engineering
M = Mathematics


3.กิจกรรมนักออกแบบอาคาร โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน

อุปกรณ์
      - ดินน้ำมัน
      - ไม้จิ้มฟัน

กติกา
      - ต่อให้สูงที่สุดเท่าที่จะทำได้
***โดย...
            รอบที่ 1 ห้ามพูดปรึกษากัน
            รอบที่ 2 พูดออกความคิดเห็นได้แค่ 1 คน
            รอบที่ 3 ทุกคนแสดงความเห็นปรึกษากันได้***


4.กิจกรรมเรือน้อยบรรทุกของ

อุปกรณ์
      - กระดาษ 1 แผ่น
      - ไม้เสียบลูกชิ้น 4 ไม้
                      


ความรู้ที่ได้รับ
          ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ว่ามีการเล่นแบบใดบ้าง เพียเจต์ได้แบ่งพัฒนาการเล่นเล่นได้เป็นกี่แบบ ได้รู้ถึงองค์ประกอบ กระบวนการจัดประสบการเพื่อการเรียนรู้ และหลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง


ประเมินเพื่อนและตนเอง
        - เพื่อนความตั้งใจทำกิจกรรมเป็นอย่างมาก แต่งกายเรียบร้อยถูกระเบียบ  ให้ความรว่วมมือกับการทำกิจกรรมดมาก สนุกกับการทำกิจกรรม


ประเมินอาจารย์
          อาจารย์แต่งกายสะอาด สุภาพ เรียบร้อย ใช้คำพูดสุภาพในการสอน นำเทคนิคการสอนที่หลากหลายมาสอนแก่นักศึกษา มีการนำเข้าสู่บทเรียนที่ดี นำกิจกรรมมาให้นักศึกษาได้ลงมือกระทำ